fbpx

ปริญญาตรี สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน (บริหารธุรกิจบัณฑิต)

การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน

1. เพราะทุกภาคธุรกิจขับเคลื่อนด้วยโลจิสติกส์ (โลจิสติกส์เป็นปัจจัยสำคัญในการขับเคลื่อนธุรกิจ)

2. เพราะประเทศไทยมีศักยภาพสูงเป็นอันดับต้นๆ ในการเป็นศูนย์กลางด้านโลจิสติกส์ของ 10 ประเทศในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ซึ่งมีประชากรเกือบ 600 ล้านคน

3. เพราะโลจิสติกส์ เชื่อมโยงด้านธุรกิจการส่งออก (ปี 2556) มูลค่าประมาณ 1.9 ล้านล้านบาท เชื่อมโยงด้านธุรกิจนำเข้ามูลค่าประมาณ 1.3 ล้านล้านบาท

4. เพราะตลาดโลจิสติกส์ในประเทศไทยจะโตร้อยละ 7.5 (CAGR) โดยมีมูลค่าสูงถึง 85.9 พันล้านเหรียญสหรัฐภายในปี 2560

5. เพราะเป็น 1 ในยุทธศาสตร์ ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสอง พ.ศ. 2560 – 2564 ว่าด้วยการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ (ยุทธศาสตร์ที่ 7)

6. ตำแหน่งงานที่ยังขาดแคลนเพราะมีผู้ประกอบการโลจิสติกส์ในประเทศไทย รวม 14,117 ราย (พ.ศ. 2559)

7. เพราะต้นทุนโลจิสติกส์ของไทยล่าสุดในปี 2558 อยู่ที่ร้อยละ 14.1 ต่อ GDP ซึ่งเป็นอันดับที่ 3 ของอาเซียน ซึ่งต้องการกำลังคนในการวิเคราะห์เพื่อลดต้นทุนอีกเป็นจำนวนมาก

8. เพราะโลจิสติกส์ คือ 1 ใน 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย: กลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจเพื่ออนาคต (New Engine Of Growth)

9. เพราะ เป็น 1 ใน 5 อันดับแรกของสายงานที่เป็นที่ต้องการของตลาดแรงงาน (พ.ศ. 2559) โดยเฉพาะงานขนส่งและโลจิสติกส์

10. เพราะ โลจิสติกส์ ที่ DPU สอนโดยคณาจารย์ที่มีประสบการณ์ (เป็นที่ปรึกษาของหน่วยงานภาครัฐและเอกชน 100% ทุกท่าน) ซึ่งทำให้มั่นใจได้ว่า บัณฑิตที่จบเป็นที่ต้องการของสถานประกอบการ

ต้นทุนทางด้านโลจิสติกส์ของไทยอยู่ที่ 14% ตลาดงานยังต้องการบุคลากรเพื่อมาวิเคราะห์ระบบโลจิสติกส์เพื่อทำการลดต้นทุนในการขนส่งเป็นจำนวนมาก

โอกาสงาน

ตำแหน่งต่างๆของผู้ที่เรียนจบด้านการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ได้แก่

อัตราเงินเดือน

ระดับผู้จัดการทั่วไป
เริ่มต้น 80,738 – 119,335  บาท

ระดับหัวหน้างาน
เริ่มต้น 47,906 – 77,888 บาท

 

ที่มา JobDB

อนาคตนักการจัดการโลจิสติกส์มืออาชีพ รอคุณอยู่